การค้นหาขั้นสูง
ผู้เยี่ยมชม
6243
อัปเดตเกี่ยวกับ: 2554/12/20
 
รหัสในเว็บไซต์ fa10152 รหัสสำเนา 19926
คำถามอย่างย่อ
เมื่อพิจารณาโองการต่างๆ และรายงานฮะดีซแล้ว ช่วยชี้แนะด้วยว่าระหว่างเกียรติยศและความประเสริฐของอัลกุรอานกับอะฮฺลุลบัยตฺ สิ่งไหนสูงกว่ากัน?
คำถาม
เมื่อพิจารณาโองการต่างๆ และรายงานฮะดีซแล้ว ช่วยชี้แนะด้วยว่าระหว่างเกียรติยศและความประเสริฐของอัลกุรอานกับอะฮฺลุลบัยตฺ สิ่งไหนสูงกว่ากัน?
คำตอบโดยสังเขป

รายงานต่างๆ จำนวนมากมาย เช่น ฮะดีซซะเกาะลัยนฺและอิตรัต, ได้ถูกแนะนำว่าเป็นสองสิ่งหนักที่มีความเสมอภาคกัน, ใช่แล้วบางรายงานฮะดีซ เฉกเช่นสิ่งที่กล่าวไว้ในฮะดีซซะเกาะลัยนฺ ตามการรายงานบางกระแสรายงานกล่าวแนะนำไว้ว่า, อัลกุรอานอยู่ในฐานะของสิ่งหนักอันยิ่งใหญ่ และส่วนอะฮฺลุลบัยตฺ อยู่ในฐานะของสิ่งหนักอันเล็กน้อยเท่านั้น.

เกี่ยวกับประเด็นนี้เพราะสาเหตุใด อะฮฺลุลบัยตฺ (.) จึงถูกแนะนำว่าเป็นสิ่งหนักอันเล็ก ส่วนอัลกุรอานเป็นสิ่งหนักอันใหญ่ยิ่ง, จำเป็นต้องกล่าวว่า: เนื่องจากอัลกุรอานคือ พระดำรัสของพระเจ้าซึ่งความเชื่อถือได้ของอัลกุรอาน เป็นไปโดยตัวตน ไม่จำเป็นต้องพึ่งพาหรือได้รับการสนับสนุนส่งเสริมจากเหตุผลอื่นใดอีก แต่คำพูดของคนอื่นต้องพึ่งพาสิ่งที่เชื่อถือได้ด้วยตัวตน เช่น อัลกุรอานเป็นตัวสนับสนุน, กล่าวคือการพิสูจน์ตำแหน่ง, และการเชื่อถือได้ของอิตรัตนั้นขึ้นอยู่กับการเชื่อถือได้ของอัลกุรอาน, เนื่องจากเพราะอัลกุรอานนั่นเองที่ทำให้พระวจนะของท่านศาสดา (ซ็อล ) ได้รับการเชื่อถือ ดังกล่าวว่า :ใดที่เราะซูลได้นำมาให้สูเจ้าก็จงรับว้า และสิ่งใดที่ท่านได้ห้ามสูเจ้าก็จงหลีกเลี่ยงเสีย

อัลกุรอานได้กล่าวกำชับเช่นนี้เพื่อให้พระวจนะของท่านเราะซูล (ซ็อล ) ได้รับความน่าเชื่อถือ ซึ่งท่านเราะซูล (ซ็อล ) ได้กล่าวว่า : «انى تارک فیکم الثقلین کتاب الله و عترتى» แท้จริงฉันได้ฝากสิ่งหนักสองสิ่งไว้ในหมู่พวกเจ้า อันได้แก่คัมภีร์แห่งอัลลฮฺ และอิตรัตของฉันดังนั้น จะเห็นว่า อิตรัต มีความเชื่อถือได้อยู่ในระดับเดียวกันกับอัลกุรอาน, แม้ว่าวจนะของท่านเราะซูล (ซ็อล ) จะได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากอัลกุรอานอีกทีหนึ่งก็ตาม ด้วยเหตุนี้เอง อัลกุรอาน จึงเป็นสิ่งหนักอันยิ่งใหญ่ ส่วนอิตรัตของเราะซูล (ซ็อล ) เป็นสิ่งหนักอันเล็กน้อย, แต่อย่างไรก็ตามคำอธิบายนี้ไม่เข้ากับแก่นแห่งความสัตย์จริงของอัลกุรอาน และแก่นแท้ของอะฮฺลุลบัยตฺ (.)

คำตอบเชิงรายละเอียด

สำหรับบทนำในประเด็นนี้ต้องกล่าวว่า มีรายงานจำนวนมากมายกล่าวแนะนำว่า อิตรัตนั้นอยู่ในฐานะภาพเดียวกัน และมีความเสมอภาคกับ อัลกุรอาน.

ท่านเราะซูล (ซ็อล ) ได้กล่าวถึงประเด็นนี้ว่า :

«إنی قد ترکت فیکم الثقلین کتاب الله و أهل بیتی فنحن أهل بیته»؛

แท้จริงฉันได้ละทิ้งสิ่งหนักสองสิ่งไว้ในหมู่ของพวกเจ้า อันได้แก่คัมภีร์แห่งอัลลอฮฺ และอะฮฺลุลบัยตฺของฉัน ดังนั้นพวกเราคือ อะฮฺลุลบัยตฺของท่าน[1]

หนึ่งในบทซิยาเราะฮฺท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) ได้กล่าวกับท่านอิมามว่า :

"السلام علیک یا امین الرحمن، السلام علیک یا شریک القرآن، السلام علیک یا عمود الدین،...".

ขอความศานติพึงมีแด่ท่าน โอ้ ผู้ซื่อสัตย์แห่งเราะฮฺมาน, ขอความศานติพึงมีแดท่าน โอ้ ผู้เป็นหุ้นส่วนของอัลกุรอาน, ขอความศานติพึงมีแด่ท่าน โอ้ ผู้เป็นเสาหลักของศาสนา ...”[2]

ซึ่งถ้าพิจารณาความหมายภายนอกของฮะดีซเหล่านี้ จะเห็นว่าทั้งสองสิ่งนี้คือ แก่นแท้อันเดียวกัน ไม่มีสิ่งใดประเสริฐหรือดีไปกว่ากัน

ในขณะที่แหล่งอ้างอิงเชิงวิชาการเรื่องฮะดีซนั้น ได้ยกย่องอัลกุรอานให้อยู่ในฐานะของ สิ่งหนักอันยิ่งใหญ่ ส่วนอิตรัตของเราะซูลนั้นอยู่ในฐานะของสิ่งหนักอันเล็กน้อย เช่น รายงานบางบทที่กล่าวว่า :

«إِنِّی قَدْ تَرَکْتُ فِیکُمُ الثَّقَلَیْنِ مَا إِنْ تَمَسَّکْتُمْ بِهِمَا لَنْ تَضِلُّوا بَعْدِی وَ أَحَدُهُمَا أَکْبَرُ مِنَ الْآخَرِ کِتَابُ اللَّهِ حَبْلٌ مَمْدُودٌ مِنَ السَّمَاءِ إِلَى الْأَرْضِ وَ عِتْرَتِی أَهْلُ بَیْتِی أَلَا وَ إِنَّهُمَا لَنْ یَفْتَرِقَا حَتَّى یَرِدَا عَلَیَّ الْحَوْضَ»؛

แท้จริงฉันได้ฝากสิ่งหนักสองสิ่งไว้ในหมู่พวกเจ้า ถ้าหากพวกเจ้าได้ยึดมั่นกับทั้งสองแล้ว จะไม่หลงทางตลอดกาลภายหลังจากฉัน ซึ่งสิ่งหนึ่งนั้นหนักและยิ่งใหญ่กว่าอีกสิ่งหนึ่ง อันได้แก่คัมภีร์แห่งอัลลอฮฺ อันเป็นสายเชือกที่ถอดตรงลงมาจากฟากฟ้าสู่แดนดิน และอิตรัตของฉัน อะฮฺลุลบัยตฺของฉัน แน่นอน ทั้งสองจะไม่มีวันแยกทางออกจากกันอย่างเด็ดขาด จนกว่าทั้งสองจะย้อนกลับคืนสู่ฉัน  สระน้ำเกาษัรแห่งสวรรค์[3]

ท่านอิมามอะลี (.) กล่าวถึงประเด็นนี้ว่า : ฉันปฏิบัติตามสิ่งหนักอันยิ่งใหญ่,คือ อัลกุรอาน และได้มอบสิ่งหนักอันเล็กไว้ในหมู่พวกเจ้า[4] คำกล่าวเช่นนี้ยังมิได้เป็นเหตุผลที่บ่งบอกว่าอัลกุรอานนั้นดีกว่าอะฮฺลุลบัยตฺดอกหรือ?แล้วรายงานทำนองนี้ถือว่าอัลกุรอานและอะฮฺลุลบัยตฺมีความเท่าเทียมกันนั้น ขัดแย้งกันหรือ?

ดังนั้น สำหรับการเผชิญกับคำถามเหล่านี้ นักปราชญ์บางท่านกล่าวว่า : แม้ว่าอิมามจะเป็นอัลกุรอานพูดได้ (นาฏิก) และมีความดีกว่า แต่นั่นเป็นเพียงการพาดพิงถึงภายนอกของอัลกุรอานเท่านั้น, ซึ่งการดีกว่าเช่นนี้เฉพาะอัลกุรอานภายนอกเล่มที่อยู่ในมือของประชาชนขณะนี้เท่านั้น, แต่ถ้าเอาอิมามไปเทียบกันแก่นแท้ของอัลกุรอาน อันได้แก่พระดำรัสของพระเจ้าแล้วละก็,ท่านอิมามเป็นผู้นอบน้อมถ่อมตนต่ออัลกุรอาน ยกย่องและเทิดเกียรติของอัลกุรอานไว้สูงส่งเสมอ, กล่าวคือเนื่องจากอัลกุรอานคือ พระดำรัสและเป็นสาส์นของพระเจ้าจึงมาก่อนและประเสริฐกว่าอะฮฺลุลบัยตฺ (.)

อีกนัยหนึ่ง, อัลกุรอานสามารถใช้ได้กับ 2 คำสั่งต่อไปนี้ กล่าวคือ : ประการแรก, อัลกุรอานฉบับที่ตีพิมพ์แล้วหรือฉบับลายมือที่มีอยู่ในมือของประชานปัจจุบัน, อีกประการหนึ่งคือ สิ่งที่ญิบรออีลได้นำลงมามอบแก่ท่านศาสดา (ซ็อล ) และต่อมาได้มีการจดบันทึกหรือจัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม. ซึ่งสิ่งนี้ก็คือ สิ่งที่บรรดาอิมาม (.) ได้ทุมเทชีวิตและเลือดเนื้อปฏิบัติตามและพิทักษ์ปกป้องไว้, และสิ่งนั้นก็คือ สิ่งหนักอันยิ่งใหญ่นั่นเอง และด้วยการธำรงอยู่ของต้นฉบับบางต้นทำให้สิ่งนั้นดำรงอยู่ได้ด้วยเช่นกัน, ส่วนอะฮฺลุลบัยตฺ คือ สิ่งหนักอันเล็กที่ได้รับการแนะนำเอาไว้, แต่อย่างไรก็ตามไม่สามารถนำเอาอัลกุรอานตามความหมายแรก ซึ่งครอบคลุมทุกฉบับที่ตีพิมพ์ ไปเปรียบเทียบกับอะฮฺลุลบัยตฺ (.) ได้, เนื่องจากอิมาม คือ อัลกุรอานที่พูดได้ ส่วนอัลกุรอานที่ตีพิมพ์คือ กุรอานที่เงียบพูดไม่ได้ และถ้าเกิดความสงสัยคลางแคลงใจ ระหว่างการปกป้องอิมาม (.) หรือการปฏิบัติตามคำสั่งของอิมาม กับการปกป้องอัลกุรอานที่ตีพิมพ์เป็นรูปเล่ม หรือลายเขียนอัลกุรอานแล้วละก็, แน่นอน ตรงนี้ต้องปกป้องรักษาอิมามไว้ก่อน และต้องเชื่อฟังปฏิบัติตามคำสั่งของท่านก่อนที่จะปกป้องกุรอานฉบับตีพิมพ์เป็นรูปเล่ม, ซึ่งเราจะต้องไม่มีข้ออ้างว่าเพื่อให้เกียรติและแสดงความเคารพต่ออัลกุรอาน, เราจึงละทิ้งคำสั่งของอิมาม, ซึ่งประเด็นนี้น่าเสียดายว่าได้เกิดขึ้นแล้วในสงครามซิฟฟีน[5]

บางคนกล่าวว่า : อัลกุรอานคือสิ่งหนักอันยิ่งใหญ่, อันเนื่องจากว่าเป็นพระดำรัสของพระเจ้า ซึ่งบรรดาศาสดาทั้งหลายต่างได้รับการแต่งตั้งลงมาเพื่อ นำเอาพระดำรัสของพระเจ้าไปเผยแพร่ในหมู่ประชาชาติ และนำเอาบทบัญญัติต่างๆ ของพระองค์มาดำเนินการปฏิบัติ, ดังนั้น อัลกุรอานจึงเป็นข้อพิสูจน์อันยิ่งใหญ่,แม้ว่าในรายงานบางบท, จะเปรียบเทียบสิ่งหนักสองสิ่งนี้คล้ายกับนิ้วชี้และนิ้วกลางก็ตาม,จุดประสงค์ก็คือ ต้องการบอกว่าสองสิ่งนี้จะไม่มีวันแยกออกจากกันอย่างแน่นอน[6]

บางท่านกล่าวว่า : ถ้าหากอัลกุรอานปราศจากอะฮฺลุลบัยตฺ และอะฮฺลุลบัยตฺปราศจากอัลกุรอานแล้วไซร์ มิสามารถชี้นำมนุษย์ไปสู่จุดหมายปลายทางได้, อัลกุรอานและอิตรัต, เป็น 2 คำนิยามที่อยู่ในฐานะเดียวกัน, ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วทั้งสองคือ แก่แท้อันเดียวกัน เพียงแต่ปรากฏในคนร่างกาย,อัลกุรอานและอิตรัต ทั้งสองคือวะฮฺยูและเป็นพระดำรัสของพระเจ้า ซึ่งทั้งสองได้สนทนาพูดคุยกับประชาชาติตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน, กล่าวคือ อิตรัตก็คือกายภาพของอัลกุรอานนั่นเอง, ด้วยเหตุนี้เองดังที่คำพูดของอัลกุรอาน เป็นข้อพิสูจน์และเป็นเหตุผลสมบูรณ์ คำพูดของอะฮฺลุลบัยตฺก็เป็นข้อพิสูจน์ด้วยเช่นเดียวกัน[7] ทั้งสองคือ โซ่ตรวนเส้นเดียวกัน,เป็นแนวทางอันเที่ยงธรรมเหมือนกัน และทั้งสองคือความสัจธรรมอันเป็นจุดหมายปลายทาง[8]

อีกนัยหนึ่ง, กล่าวได้ว่าตามคำกล่าวของรายงานเหล่านี้ก็มิได้ต้องการที่จะบอกว่าอัลกุรอานนั้นดีกว่าอิตรัตแต่อย่างใด, เนื่องจากทั้งอัลกุรอานและอิตรัตนั้นต่างเป็นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการของอัลลอฮฺทั้งสิ้น และทั้งสองเป็นความพิเศษเลอเลิศที่ให้ประโยชน์อยู่ในระดับเดียวกัน, ทว่าการตีความเหล่านี้ต้องการจะบอกว่าอัลกุรอานมีนามว่า สิ่งหนักอันยิ่งใหญ่ เป็นสายสืบที่เชื่อถือได้ที่สุด เป็นรายงานอันหนักแน่นจากอะฮฺลุลบัยตฺ (.), อัลกุรอานคือ พระดำรัสของพระเจ้า ซึ่งความเชื่อถือได้ของอัลกุรอาน เป็นไปโดยตัวตน ไม่จำเป็นต้องพึ่งพาหรือได้รับการสนับสนุนส่งเสริมจากเหตุผลอื่นใดอีก แต่คำพูดของคนอื่นต้องพึ่งพาสิ่งที่เชื่อถือได้ด้วยตัวตน เช่น อัลกุรอานเป็นตัวสนับสนุน, กล่าวคือการพิสูจน์ตำแหน่ง, และการเชื่อถือได้ของอิตรัตนั้นขึ้นอยู่กับการเชื่อถือได้ของอัลกุรอาน, เนื่องจากเพราะอัลกุรอานนั่นเองที่ทำให้พระวจนะของท่านศาสดา (ซ็อล ) ได้รับการเชื่อถือ ดังกล่าวว่า :ใดที่เราะซูลได้นำมาให้สูเจ้าก็จงรับว้า และสิ่งใดที่ท่านได้ห้ามสูเจ้าก็จงหลีกเลี่ยงเสีย[9]

อัลกุรอานได้กล่าวกำชับเช่นนี้เพื่อให้พระวจนะของท่านเราะซูล (ซ็อล ) ได้รับความน่าเชื่อถือ ซึ่งท่านเราะซูล (ซ็อล ) ได้กล่าวว่า : «انى تارک فیکم الثقلین کتاب الله و عترتى» แท้จริงฉันได้ฝากสิ่งหนักสองสิ่งไว้ในหมู่พวกเจ้า อันได้แก่คัมภีร์แห่งอัลลฮฺ และอิตรัตของฉันดังนั้น จากสองปฐมบทที่กล่าวามานี้ได้บทสรุปว่า อิตรัต มีความเชื่อถือได้อยู่ในระดับเดียวกันกับอัลกุรอาน, แม้ว่าวจนะของท่านเราะซูล (ซ็อล ) จะได้รับการส่งเสริมสนับสนุนและเชื่อถือได้ด้วย พระดำรัสของ อัลกุรอานอีกทีหนึ่งก็ตาม ด้วยเหตุนี้เอง อัลกุรอาน จึงเป็นสิ่งหนักอันยิ่งใหญ่ ส่วนอิตรัตของเราะซูล (ซ็อล ) เป็นสิ่งหนักอันเล็ก, แต่อย่างไรก็ตามคำอธิบายนี้ไม่เข้ากับแก่นแห่งความสัตย์จริงของอัลกุรอาน และแก่นแท้ของอะฮฺลุลบัยตฺ (.)[10]

แต่สิ่งที่เข้าใจได้ตรงนี้คือ การสร้างความเข้าใจกับรายงานต่างๆ เกี่ยวกับประเด็นเหล่านี้ จำเป็นต้องพิจารณาองค์ประกอบเหล่านี้ด้วย กล่าวคือ

1.ไม่ต้องสงสัยเลยว่า แก่นแท้ของอัลกุรอานและอะฮฺลุลบัยตฺ (.) นั้น อยู่  อัลลอฮฺ (ซบ.) และเป็นสิ่งเดียวกัน, ซึ่งแก่นแท้ความจริงนี้ได้ถูกมอบหมายไว้ที่ท่านเราะซูล (ซ็อล ) ในสองแม่พิมพ์ที่ปรากฏร่างภายนอกมีความแตกต่างกัน ประการหนึ่งเรียกว่า อัลกุรอาน ส่วนอีกประการหนึ่งเรียกว่า อะฮฺลุลบัยตฺ (.) และทั้งสองอยู่ในฐานะของสิ่งหนักที่ท่านเราะซูล (ซ็อล ) ได้ประกาศและฝากเอาไว้ในหมู่ประชาชาติ, รายงานบางบทกล่าวว่า ท่านเราะซูล (ซ็อล ) พยายามจะแนะนำสิ่งหนักทั้งสองแก่ประชาชาติ ท่านกล่าวว่า :

«أَنَّهُمَا لَنْ یَفْتَرِقَا حَتَّى یَرِدَا عَلَیَّ الْحَوْضَ کَإِصْبَعَیَّ هَاتَیْنِ وَ جَمَعَ بَیْنَ سَبَّابَتَیْهِ وَ لَا أَقُولُ کَهَاتَیْنِ وَ جَمَعَ بَیْنَ سَبَّابَتِهِ وَ الْوُسْطَى فَتَفْضُلُ هَذِهِ عَلَى هَذِهِ»

อัลลอฮฺ ทรงมีบัญชาแก่ฉันว่า ทั้งสองจะไม่มีวันแยกออกจากกัน จนกว่าทั้งสองจะย้อนกลับคืนสู่ฉัน  สระน้ำแห่งสรวงสวรรค์ และเนื่องจากว่าทั้งสองมีความคล้ายเหมือนนิ้วมือของฉัน (ท่านชูนิ้วชี้ทั้งสองมือประชิดติดกัน) ฉันไม่ต้องการบอกว่าทั้งสองนั้นเหมือนกับนิ้วชี้ทั้งสองของฉัน (ท่านชี้ไปที่นิ้วชี้และนิ้วกลาง) ซึ่งนิ้วหนึ่งดีกว่าและใหญ่กว่าอีกนิ้วหนึ่ง[11]

2.อาจเป็นไปได้ว่ารายงานบางบทได้เน้นย้ำถึง <

แปลคำถามภาษาต่างๆ
ความเห็น
จำนวนความเห็น 0
กรุณาป้อนค่า
ตัวอย่าง : Yourname@YourDomane.ext
กรุณาป้อนค่า
<< ลากฉัน
กรุณากรอกจำนวนที่ถูกต้องของ รหัสรักษาความปลอดภัย

คำถามสุ่ม

  • การบริจาคทรัพย์ฮะรอม กฎเกณฑ์ว่าอย่างไร?
    5843 สิทธิและกฎหมาย 2554/11/21
    การวะกัฟจะถือว่าถูกต้องก็ต่อเมื่อ, ตนเป็นเจ้าของทรัพย์ที่ต้องการวะกัฟอย่างถูกต้อง[1]ดังนั้นการวะกัฟทรัพย์สินที่ได้ขู่กรรโชก
  • ฐานะภาพของบรรดาอิมามสูงส่งกว่าบรรดานบีจริงหรือ?
    6646 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/12/20
    ฮะดีษมากมายระบุว่าบรรดาอิมามมีความสูงส่งเหนือบรรดานบีทั้งนี้ก็เนื่องจากรัศมีทางจิตใจของบรรดาอิมามหลอมรวมกับท่านนบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) ฉะนั้นในเมื่อท่านนบีมีศักดิ์เหนือบรรดานบีท่านอื่นๆวุฒิภาวะที่บรรดาอิมามได้รับการถ่ายทอดจากนบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) จึงเหนือกว่านบีทุกท่าน ประเด็นที่ว่ามนุษย์มีศักดิ์ที่สูงกว่ามลาอิกะฮ์นั้นถือเป็นสิ่งที่อิสลามยอมรับฉะนั้นการที่อิมามผู้ไร้บาปจะมีศักดิ์เหนือกว่ามลาอิกะฮ์จึงไม่ไช่เรื่องที่เหนือความคาดหมายแต่อย่างใด ...
  • ประโยค “ทุกวันคือาชูรอ ทุกแผ่นดินคือกัรบะลา” เป็นฮาดีษหรือไม่? มีหลักฐานเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าวมากน้อยเพียงใด
    8714 สิทธิและกฎหมาย 2554/07/03
    จากการศึกษาตำราฮะดีษ  เราไม่พบหลักฐานใดๆที่ระบุว่าประโยคดังกล่าวเป็นฮาดีษบรรดามะศูมีนอย่างไรก็ดี ประโยคนี้ให้นิยามเหตุการณ์กัรบะลา
  • สามารถกุรบานสัตว์ (เชือดพลี) ในพิธีฮัจญฺ นอกเขตมุนาได้หรือไม่?
    5206 สิทธิและกฎหมาย 2554/06/22
    ท่านอายะตุลลอฮฺอัลอุซมาฟาฎิลลันกะรอนียฺ :ตอบว่า, ไม่อนุญาตเนื่องจากการเชือดพลีแกะเป็นวาญิบประการหนึ่งของพิธีฮัจญฺซึ่งต้องทำให้มุนาหรือสถานที่ปัจจุบันได้กระทำกันอยู่และต้องเชือดพลีในช่วงเทศกาลฮัจญฺเท่านั้นท่านอายะตุลลอฮฺอัลอุซมามะการิมชีรอซียฺ :ตอบว่า, ก่อนหน้านี้ได้ออกคำวินิจฉัยประเด็นนี้ไปแล้วว่าฮุจญาตสามาถเลือกได้ว่าจะเชือดพลีในมักกะฮฺหรือที่เมืองของตนแต่ต้องพิจารณาและเอาใจใส่เงื่อนไขต่างๆของการกุรบานอย่างสมบูรณ์ ...
  • มีฮะดีษอยู่บทหนึ่งระบุว่าอัลลอฮ์ทรงยกย่องความบริสุทธิ์ของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ด้วยการไม่ปล่อยให้ลูกหลานของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ตกนรก
    6361 ดิรอยะตุลฮะดีซ 2555/01/19
    ฮะดีษนี้ปรากฏอยู่ในตำราฝ่ายซุนหนี่และชีอะฮ์โดยมีความน่าเชื่อถือสูงเนื่องจากมีหลากสายรายงานแต่คำถามที่มีมาตั้งแต่อดีตก็คือความหมายของลูกหลานในฮะดีษนี้ครอบคลุมเพียงใด? เมื่อพิจารณาเทียบกับฮะดีษอื่นๆก็จะเข้าใจได้ว่าฮะดีษนี้เจาะจงเฉพาะบุตรชั้นแรกของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์(อ.)เท่านั้นที่ได้รับความเมตตาให้มีภาวะปลอดบาปอันเป็นการสมนาคุณแด่การสงวนตนของท่านหญิงทว่าลูกหลานชั้นต่อๆไปแม้จะได้รับสิทธิบางอย่างแต่จะไม่ได้รับความปลอดภัยจากการลงทัณฑ์อย่างสมบูรณ์ ...
  • ความหมายของเตาฮีดคอลิกียะฮฺคืออะไร?
    9596 เทววิทยาดั้งเดิม 2555/05/17
    เตาฮีด หมายถึงความเป็นเอกะหรือเอกเทศ, เตาฮีดคอลิกียะฮฺ หมายถึงจักรวาลและสรรพสิ่งทั้งหลายไม่มีผู้ใดสร้างขึ้นมา นอกจากอัลลอฮฺ ผู้ทรงพิสุทธิ์ยิ่ง, สรรพสิ่งที่มีอยู่, ร่องรอยและกิจการงานของพวกเขา, แม้แต่มนุษย์และผลงานสร้างสรรค์ทั้งหมดของเขา หรือสิ่งที่พวกเขาค้นพบ โดยความเป็นจริงแล้วและมิได้เป็นการกล่าวอย่างเลยเถิด ทั้งหมดเหล่านั้นคือ สิ่งถูกสร้างของอัลลอฮฺ ทั้งสิ้น ดังนั้น ทุกสิ่งที่มีอยู่ในโลกใบนี้คือ สิ่งถูกสร้างของพระองค์ทั้งสิ้น เพียงแต่ว่าบางสิ่งปราศจากสื่อและบางสิ่งมีสื่อในการสร้าง ...
  • การนำเอาเด็กเล็กไปร่วมงานอ่านฟาติฮะฮฺ ณ กุบูร เป็นมักรูฮฺหรือไม่?
    6121 จริยธรรมปฏิบัติ 2555/05/17
    การนำเด็กๆ เข้าร่วมในมัจญฺลิซ งานประชุมศาสนา พิธีกรรมทางศาสนา, การนำเด็กๆ ไปมัสญิด, หรือพิธีกรรมรำลึกถึงท่านอิมามฮุซัยนฺ (อ.) ในเดือนมุฮัรรอม หรืองานเทศกาลอื่นๆ ทางศาสนา, เช่น เข้าร่วมนมาซอีดฟิฏร์ อีดกุรบาน หรือพิธีกรรมต่างๆ ทางศาสนา เพื่อเป็นการกระตุ้นความรักผูกพันกับศาสนาของพวกเขา ถือว่าเป็นสิ่งที่ดีมีประโยชน์อย่างยิ่ง ส่วนการนำเด็กๆ ไปร่วมพิธีอ่านฟาติฮะฮฺ ณ สถานฝังศพ ซึ่งได้ค้นหารายงานจากตำราต่างๆ ด้านฟิกฮฺอิสลามแล้ว ไม่พบรายงานที่ระบุว่าการกระทำดังกล่าวเป็นมักรูฮฺ ถ้าหากมีรายงานหรือเหตุผลอันเฉพาะเจาะจงจากสามีหรือภรรยาของคุณ กรุณาชี้แจงรายละเอียดมากกว่านี้แก่เราเพื่อเป็นประโยชน์สำหรับการค้นคว้าต่อไป ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับคำถามของคุณ สามารถกล่าวสรุปได้ดังนี้ : 1.รายงานที่กล่าวถึงผลบุญในการกล่าวแสดงความเสียใจกับเจ้าของงาน และการไปยังสถานฝังศพ เป็นรายงานทั่วไปกว้างๆ แน่นอนย่อมครอบคลุมถึงเด็กและเยาวชนด้วย 2.จากแนวทางการปฏิบัติของรรดาอิมามมะอฺซูม (อ.) ...
  • เหตุใดจึงไม่ควรครุ่นคิดเกี่ยวกับความลึกซึ้งของการสรรสร้าง?
    6138 เทววิทยาดั้งเดิม 2555/02/19
    ประเด็นหนึ่งที่กุรอานและฮะดีษเน้นย้ำไว้เป็นพิเศษก็คือ การครุ่นคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรพสิ่งต่างๆ[1] ทว่าควรหลีกเลี่ยงการไตร่ตรองเกี่ยวกับอาตมันของอัลลอ์ ดังฮะดีษนบี(ซ.ล.)ที่ว่า จงครุ่นคิดเกี่ยวกับสรรพสิ่งที่อัลลอฮ์สร้างเถิด แต่ในกรณีของอาตมันของพระองค์นั้น ไม่บังควรอย่างยิ่ง”[2] อีกฮะดีษหนึ่ง ท่านนบีระบุถึงสาเหตุที่ห้ามมิให้ไตร่ตรองเกี่ยวกับอาตมันของอัลลอฮ์ว่า “เนื่องจากพวกท่านไม่อาจจะเข้าถึงความยิ่งใหญ่ของพระองค์เด็ดขาด”[3] ด้วยเหตุนี้ นอกจากจะไม่มีการห้ามครุ่นคิดเกี่ยวกับการสรรสร้างของพระองค์แล้ว ...
  • อัลกุรอาน บทนิซาอฺ โองการที่ 29 กล่าวว่า(... إِلاَّ أَن تَكُونَ تِجَارَةً عَن تَرَاضٍ مِّنكُمْ): ทำไมจึงกล่าวว่า تَرَاضٍ مِّنكُمْ ความพอใจในหมู่สูเจ้า เพราะเหตุใดไม่กล่าวว่า تراض بینکم ความพอใจระหว่างพวกเจ้า
    8387 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/05/17
    อัลกุรอาน กล่าวว่า »โอ้ บรรดาผู้มีศรัทธา! จงอย่ากินทรัพย์ของสูเจ้าในระหว่างสูเจ้ากันเองโดยทุจริต (ได้มาโดยวิธีต้องห้าม) นอกจากจะเป็นการค้าขายที่เกิดจากความพอใจในหมู่สูเจ้ากันเอง[1]« โองการนี้เป็นหนึ่งบทบัญญัติของอิสลามที่ว่าด้วยเรื่อง การค้าขายแลกเปลี่ยนและธุรกรรมการเงิน ด้วยเหตุนี้ บทบัญญัติอิสลาม จึงได้ใช้โองการข้างต้นพิสูจน์ปัญหาเรื่องการค้าขาย ประโยคที่กล่าวว่า «إلَّا أَنْ تَكُونَ تِجارَةً عَنْ تَراضٍ» “นอกจากจะเป็นการค้าขายที่เกิดจากความพอใจในหมู่สูเจ้ากันเอง” ในโองการข้างต้น, เป็นการละเว้นเด็ดขาดจากบทบัญญัติทั่วไปก่อนหน้านี้, ด้วยคำอธิบายว่า การหยิบจ่ายใช้สอยทรัพย์สินของคนอื่นแบบไม่ถูกต้อง (บาฏิล) หรือไม่ยุติธรรมและไม่เป็นที่พอใจของเขา หรือไม่ถูกต้องตามหลักการคำสอน, ถือว่าฮะรอมและบาฏิล เว้นเสียแต่ว่าจะได้มาโดยการทำการค้าขาย (การเป็นเจ้าของด้วยเงื่อนไขการกำหนดข้อตกลง) แต่สิ่งนั้นก็ยังต้องขึ้นอยู่กับความพึงพอใจของทั้งสองฝ่าย ที่ได้ตกลงทำการค้าขายกัน, ด้วยเหตุนี้ ธุรกรรมการเงินทั้งหมด และการค้าขายทุกประเภทต้องเกิดจากความพอใจทั้งสองฝ่ายแล้ว ...
  • โองการที่ 144 ซูเราะฮ์อาลิอิมรอนบ่งบอกว่าท่านนบี(ซ.ล.)เป็นชะฮีดหรือไม่?
    9563 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/02/18
    ขณะที่เกิดข่าวลือในหมู่มุสลิมขณะทำสงครามอุฮุดว่าท่านนบีถูกสังหารแล้ว อันทำให้มุสลิมบางส่วนถอนตัวจากสงคราม ถึงขั้นที่บางคนหวังจะขอประนีประนอมกับพวกศัตรูและยอมออกจากศาสนาอิสลาม ในสถานการณ์ดังกล่าว โองการข้างต้นได้ประทานลงมาเพื่อตำหนิมุสลิมที่คิดจะปลีกตัวจากสงครามอย่างเผ็ดร้อน โดยสอนว่ามุสลิมจะต้องมั่นคง ในศาสนาไม่ว่าท่านนบีจะมีชีวิตอยู่หรือถูกสังหารไปแล้วก็ตาม จงอย่าหวั่นไหวในศรัทธาเด็ดขาดฉะนั้น กริยา قُتِلَ (ถูกสังหาร) เป็นเพียงสมมุติฐานหนึ่งที่กุรอานนำเสนอว่า แม้ท่านนบีจะเพลี่ยงพล้ำถึงขั้นถูกสังหารก็ตาม มุสลิมจะต้องมั่นคงในศาสนาและไม่หวั่นไหวในภารกิจของตน ด้วยเหตุนี้ โองการดังกล่าวจึงใช้พิสูจน์ว่าท่านนบี(ซ.ล.)เป็นชะฮีดไม่ได้ ...

เนื้อหาที่มีผู้อ่านมากที่สุด

  • อะไรคือหน้าที่ๆภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีบ้าง?
    59391 สิทธิและกฎหมาย 2554/07/07
    ความมั่นคงของชีวิตคู่ขึ้นอยู่กับความรักความผูกพัน ความเข้าใจ การให้เกียรติและเคารพสิทธิของกันและกัน และเพื่อที่สถาบันครอบครัวจะยังคงมั่นคงเป็นปึกแผ่น อิสลามจึงได้ระบุถึงสิทธิของทั้งภรรยาและสามี ขณะเดียวกันก็ได้กำหนดหน้าที่สำหรับทั้งสองฝ่ายไว้ด้วย เนื่องจากเมื่ออัลลอฮ์ประทานสิทธิ ก็มักจะกำหนดหน้าที่กำกับไว้ด้วยเสมอ ข้อเขียนนี้จะนำเสนอหน้าที่ทางศาสนาบางส่วนที่ภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีดังต่อไปนี้:1. ...
  • ดุอาใดบ้างที่ทำให้ได้รับพรเร็วที่สุด?
    56844 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/07/03
    มีดุอาที่รายงานจากอิมาม(อ.)หลายบทที่กล่าวขานกันว่าเห็นผลตอบรับอย่างรวดเร็ว แต่เนื่องจากไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาดุอาทั้งหมด ณ ที่นี้ได้ จึงขอกล่าวเพียงชื่อดุอาที่มีความสำคัญเป็นพิเศษดังต่อไปนี้1. ดุอาตะวัซซุ้ล2. ดุอาฟะร็อจ
  • กรุณานำเสนอบทดุอาเพื่อให้ได้พบคู่ครองที่เหมาะสมและเปี่ยมด้วยตักวา
    41673 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/06/12
    ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีปัจจัยและเงื่อนไขจำเพาะตามที่พระเจ้าทรงกำหนดหากเราประสงค์สิ่งใดย่อมต้องเริ่มจากการตระเตรียมปัจจัยและเงื่อนไขเสียก่อนปัจจัยของการแต่งงานคือการเสาะหาและศึกษาอย่างละเอียดทว่าเพื่อความสัมฤทธิ์ผลในการดังกล่าวจำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากอัลลอฮ์เพื่อทรงชี้นำการตัดสินใจและความพยายามของเราให้บรรลุดังใจหมาย.การอ่านบทดุอาต่างๆที่รายงานจากบรรดาอิมาม(อ)ต้องควบคู่กับความพยายามศึกษาและเสาะหาคู่ครองอย่างถี่ถ้วน. หนึ่งในดุอาที่เกี่ยวกับเรื่องนี้โดยเฉพาะก็คือรายงานที่ตกทอดมาจากท่านอลี(อ)ดังต่อไปนี้: “ผู้ใดประสงค์จะมีคู่ครอง
  • ด้วยเหตุผลอันใดที่ต้องกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อน บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม?
    38425 วิทยาการกุรอาน 2555/08/22
    หนึ่งในมารยาทของการอ่านอัลกุรอาน ซึ่งมีกล่าวไว้ในอัลกุรอาน และรายงานฮะดีซคือ การกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อนที่จะเริ่มอ่านอัลกุรอาน หรือแม้แต่ให้กล่าวก่อนที่จะกล่าว บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม เสียด้วยซ้ำไป ด้วยเหตุผลที่ว่า บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม นั้นเป็นส่วนหนึ่งของอัลกุรอาน อย่างไรก็ตามการขอความคุ้มครองจากอัลลอฮฺ มิใช่แค่เป็นเพียงคำพูดเท่านั้น ทว่าสิ่งนี้จะต้องฝังลึกอยู่ภายในจิตวิญญาณของเรา ซึ่งต้องสำนึกสิ่งนี้อยู่เสมอตลอดการอ่านอัลกุรอาน ...
  • ครูบาอาจารย์และลูกศิษย์(นักเรียนนักศึกษา)มีหน้าที่ต่อกันอย่างไร?
    38418 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/11/14
    ผู้สอนและผู้เรียนมีหน้าที่ต่อกันหลายประการด้วยกันซึ่งสามารถจำแนกออกเป็นสองส่วนก. หน้าที่ที่ผู้สอนมีต่อผู้เรียนอันประกอบด้วยหน้าที่ทางจริยธรรมการอบรมและวิชาการ ข. หน้าที่ที่ผู้เรียนมีต่อผู้สอนอาทิเช่นการให้เกียรติครูบาอาจารย์ยกย่องวิทยฐานะของท่านนอบน้อมถ่อมตน ...ฯลฯ ...
  • ก่อนการสร้างนบีอาดัม(อ) เคยมีการแต่งตั้งญินให้เป็นศาสนทูตสำหรับฝ่ายญินหรือไม่?
    33450 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/06/12
    อัลกุรอานยืนยันการมีอยู่ของเหล่าญินรวมทั้งได้อธิบายคุณลักษณะบางประการไว้ถึงแม้ว่าข้อมูลของเราเกี่ยวกับโลกของญินจะค่อนข้างจำกัดแต่เราสามารถพิสูจน์ว่าเหล่าญินเคยมีศาสนทูตที่เป็นญินก่อนการสร้างนบีอาดัมโดยอาศัยเหตุผลต่อไปนี้:1. เหล่าญินล้วนมีหน้าที่ทางศาสนาเฉกเช่นมนุษย์เราแน่นอนว่าหน้าที่ทางศาสนาย่อมเป็นผลต่อเนื่องจากการสั่งสอนศาสนาด้วยเหตุนี้จึงมั่นใจได้ว่าอัลลอฮ์ทรงเคยแต่งตั้งศาสนทูตสำหรับกลุ่มชนญินเพื่อการนี้2. เหล่าญินล้วนต้องเข้าสู่กระบวนการพิพากษาในวันกิยามะฮ์เฉกเช่นมนุษย์เราซึ่งโดยทั่วไปแล้วก่อนกระบวนการพิพากษาทุกกรณีจะต้องมีการชี้แจงข้อกฏหมายจนหมดข้อสงสัยเสียก่อนและการชี้แจงให้หมดข้อสงสัยคือหน้าที่ของบรรดาศาสนทูตนั่นเอง
  • เนื่องจากอัลลอฮฺทรงรอบรู้เหนือโลกและจักรวาล ฉะนั้น วัตถุประสงค์การทดสอบของอัลลอฮฺคืออะไร?
    27540 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/03/08
    ดังที่ปรากฏในคำถามว่าการทดสอบของอัลลอฮฺไม่ได้เพื่อการค้นหาสิ่งที่ยังไม่รู้เนื่องจากอัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงปรีชาญาณเหนือทุกสรรพสิ่งแต่อัลกุรอานหลายโองการและรายงานที่ตกมาถึงมือเรากล่าวว่าการทดสอบเป็นแบบฉบับหนึ่งและเป็นกฎเกณฑ์ของพระเจ้าที่วางอยู่บนแบบฉบับอื่นๆอันได้แก่การอบบรมสั่งสอนการชี้นำโดยรวมของพระเจ้าอัลลอฮฺ
  • ปีศาจ (ซาตาน) มาจากหมู่มะลาอิกะฮฺหรือญิน ?
    27235 การตีความ (ตัฟซีร) 2553/12/22
    เกี่ยวกับคำถามที่ว่าชัยฎอนเป็นมะลาอิกะฮฺหรือญินมีมุมมองและทัศนะแตกต่างกันแหล่งที่มาของความขัดแย้งนี้เกิดจากเรื่องราวการสร้างนบีอาดัม (อ.) เนื่องจากเป็นคำสั่งของพระเจ้ามวลมะลาอิกะฮ์ทั้งหลายจึงได้กราบสุญูดอาดัมแต่ซาตานไม่ได้ก้มกราบบางคนกล่าวว่าชัยฎอน (อิบลิส) เป็นมะลาอิกะฮฺ, โดยอ้างเหตุผลว่าเนื่องจากโองการอัลกุรอานกล่าวละเว้น, อิบลิสไว้ในหมู่ของมะลาอิกะฮฺ (มะลาอิกะฮ์ทั้งหมดลดลงกราบยกเว้นอิบลิส) ดังนั้นอิบลิส
  • อายะฮ์ إِذا مَا اتَّقَوْا وَ آمَنُوا وَ عَمِلُوا الصَّالِحاتِ ثُمَّ اتَّقَوْا وَ آمَنُوا ثُمَّ اتَّقَوْا وَ أَحْسَنُوا وَ اللَّهُ یُحِبُّ الْمُحْسِنین การกล่าวซ้ำดังกล่าวมีจุดประสงค์ใด?
    27133 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/02/07
    ในแวดวงวิชาการมีความเห็นแตกต่างกันในเรื่องการย้ำคำว่าตักวาในโองการข้างต้นบ้างเชื่อว่ามีจุดประสงค์เพื่อให้เล็งเห็นความสำคัญของประเด็นเกี่ยวกับตักวาอีหม่านและอะมั้ลที่ศอลิห์
  • เมื่ออัลลอฮฺ มิทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลายจากสิ่งใดทั้งหมด, หมายความว่าอำนาจของพระองค์ได้ถ่ายโอนไปสู่วัตถุปัจจัยกระนั้นหรือ?
    25207 รหัสยทฤษฎี 2555/05/17
    ใช่แล้ว การสร้างจากสิ่งไม่มีตัวตนมีความหมายตามกล่าวมา, เนื่องจากคำว่า ไม่มีตัวตน คือไม่มีอยู่ก่อนจนกระทั่งอัลลอฮฺ ทรงสร้างสิ่งนั้นขึ้นมา รายงานฮะดีซก็กล่าวถึงประเด็นนี้ไว้เช่นกันว่า อำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า มีความเป็นหนึ่งเดียวกันกับคุณลักษณะอื่นของพระองค์ ซึ่งเกินเลยอำนาจความรอบรู้ของมนุษย์ เนื่องจากสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลายได้ถูกสร้างขึ้นมา จากสิ่งไม่มี ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลาย เปรียบเสมือนภาพที่ถ่ายโอนอำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า เราเรียกนิยามนี้ว่า “การสะท้อนภาพ”[1]ซึ่งในรายงานฮะดีซได้ใช้คำว่า “การเกิดขึ้นของคุณลักษณะ” : อัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงเป็นพระผู้อภิบาลของเราที่มีความเป็นนิรันดร์ ความรอบรู้คือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีความรอบรู้อันใด การได้ยินคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการได้ยินใดๆ การมองเห็นคือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการมองเห็นอันใด อำนาจคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีอำนาจอันใด และเนื่องจากพระองค์คือ ผู้ทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลาย ทำให้สิ่งเหล่านั้นมีและเป็นไป ความรู้ของพระองค์ได้ปรากฏบนสิ่งถูกรู้จักทั้งหลาย การได้ยิน ได้ปรากฏบนสิ่งที่ได้ยินทั้งหลาย การมองเห็นได้ปรากฏบนสิ่งมองเห็น และอำนาจของพระองค์ ...